Page 6 - หนังสือกิจการประจำปี 2555
P. 6
อุดมการณของสหกรณ
คำนิยาม
“สหกรณเปนองคกรอิสระของบุคคล ซึ่งรวมกลุมกันดวยความสมัครใจ เพื่อสนองความตองการและจุดมุงหมาย
รวมกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยการดำเนินวิสาหกิจที่เปนเจาของรวมกันและควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตย”
คุณคาของสหกรณ
“สหกรณตั้งอยูบนพื้นฐานแหงคุณคาของการชวยเหลือตนเอง รับผิดชอบตนเอง ประชาธิปไตย ความเสมอภาค
ความเที่ยงธรรม และเอกภาพ สมาชิกเชื่อมั่นในคุณคาทางจริยธรรมแหงความสุจริต ความเปดเผย ความรับผิดชอบตอสังคม
และความเอื้ออาทรตอผูอื่น โดยเจริญรอยตามขนบธรรมเนียมของผูริเริ่มการสหกรณ”
หลักการสหกรณ
หลักการสหกรณในที่นี้หมายถึง หลักวิธีดำเนินงานสหกรณ ที่ประเทศตางๆ ไดถือเปนหลักสำคัญในการดำเนินงาน
หรือเปนแนวทางสำหรับสหกรณทั้งหลายในการนำคานิยมของสหกรณสูการปฏิบัติ ซึ่งองคการสัมพันธภาพระหวางประเทศ
ไดแถลงการณไว 7 ประการ ซึ่ง นายประดิษฐ มัชฌิมา ไดรายงานไว ดังนี้
หลักการที่ 1 การเปดรับสมาชิกทั่วไปและดวยความสมัครใจ
สหกรณเปนองคการแหงความสมัครใจที่เปดรับบุคคลทั้งหลายที่สามารถใชบริการของสหกรณ และเต็มใจรับผิดชอบ
ในฐานะสมาชิกเขาเปนสมาชิกโดยปราศจากการกีดกันทางเพศ สังคม เชื้อชาติ การเมือง หรือศาสนา
หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักการประชาธิปไตย
สหกรณเปนองคการประชาธิปไตยที่ควบคุมโดยมวลสมาชิกผูมีสวนรวมอยางแข็งขันในการกำหนดนโยบายและการ
ตัดสินใจบุรุษและสตรี ผูที่ไดรับเลือกใหเปนผูแทนสมาชิก ตองรับผิดชอบตอมวลสมาชิก ในสหกรณปฐมสมาชิกมีสิทธิ์ในการออก
เสียงเทาเทียมกัน (สมาชิกหนึ่งคนตอหนึ่งเสียง) สำหรับสหกรณในระดับอื่น ใหดำเนินการไปตามแนวทางประชาธิปไตยดวยเชนกัน
หลักการที่ 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก
สมาชิกสหกรณพึงมีความเที่ยงธรรมในการให และควบคุมการใชทุนของสหกรณตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของ
สหกรณอยางนอยสวนหนึ่ง ตองเปนทรัพยสินสวนรวมของสหกรณ สมาชิกจะไดรับผลตอบแทนสำหรับเงินทุน ตามเงื่อนไข
แหงสมาชิกภาพในอัตราที่จำกัด (ถามี) มวลสมาชิกเปนผูจัดสรรประโยชนสวนเกินเพื่อจุดมุงหมายประการใดประการหนึ่ง
หรือทั้งหมดดังตอไปนี้คือ เพื่อพัฒนาสหกรณของตนโดยจัดใหเปนทุนของสหกรณ ซึ่งสวนหนึ่งของทุนนี้ตองไมนำมาแบงปนกัน
เพื่อเปนผลประโยชนแกสมาชิกตามสวนของปริมาณธุรกิจที่ทำกับสหกรณ หรือเพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิกเห็นชอบ
หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ
สหกรณเปนองคกรที่พึ่งพาและปกครองตนเอง โดยการควบคุมของสมาชิก ในกรณีที่สหกรณจำตองมีขอตกลงหรือ
ผูกพันกับองคกรอื่นๆ รวมถึงองคกรของรัฐ หรือตองแสวงหาทุนจากแหลงภายนอก สหกรณตองกระทำภายใตเงื่อนไข อันเปน
ที่มั่นใจไดวา มวลสมาชิกจะยังคงไว ซึ่งอำนาจในการควบคุม ตามแนวทางประชาธิปไตยและยังคงความเปนอิสระของสหกรณ
หลักการที่ 5 การใหการศึกษา การฝกอบรมและสารสนเทศ
สหกรณพึงใหการศึกษาและการฝกอบรมแกมวลสมาชิก ผูแทนจากการเลือกตั้ง ผูจัดการ และพนักงาน เพื่อบุคคล
เหลานั้นสามารถมีสวนชวยพัฒนาสหกรณของพวกตนไดอยางมีประสิทธิผล และสามารถใหขาวสารแกสาธารณชน โดยเฉพาะ
อยางยิ่งเยาวชนและบรรดาผูนำทางความคิด ในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชนของการสหกรณได
หลักการที่ 6 การรวมมือระหวางสหกรณ
สหกรณสามารถใหบริการแกสมาชิกอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด และเสริมสรางความเขมแข็งใหแกขบวนการสหกรณ
โดยการประสานความรวมมือกันในระดับทองถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ
หลักการที่ 7 ความเอื้ออาทรตอชุมชน
สหกรณพึงดำเนินกิจกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนตามนโยบายที่มวลสมาชิกใหความเห็นชอบ
6